
กรมชลประทาน ติดตั้งเครื่องจักร เครื่องมือ ช่วยเหลือพื้นที่ประสบอุทกภ ัยภาคใต้ เฝ้าระวัง สภาพอากาศจากการคาดการณ์ของ กรมอุตุนิยมวิทยา ในช่วงวันที่ 22 - 24 พฤศจิกายน 2564 ภาคใต้จะมีฝนตกเพิ่มขึ้นอย่ างต่อเนื่องและมีฝนตกหนักบา งแห่ง อาจทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลากได้ บูรณาการร่วมกับศูนย์บริหาร จัดการน้ำส่วนหน้าในพื้นที่ ภาคใต้ กองอำนวยการน้ำแห่งชาติ
นายประพิศ จันทร์มา อธิบดีกรมชลประทาน เปิดเผยว่า ศูนย์บริหารจัดการน้ำส่วนหน ้าในพื้นที่ภาคใต้ กองอำนวยการน้ำแห่งชาติ ได้ประเมินและวิเคราะห์สถาน การณ์น้ำจากฝนคาดการณ์ (ONE MAP) ของกรมอุตุนิยมวิทยาและสถาบ ันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน) และข้อมูลฝนที่ตกลงมาในพื้น ที่ รวมทั้งพื้นที่เคยเกิดน้ำหล ากและน้ำล้นตลิ่งในช่วงที่ผ ่านมา พบว่ามีพื้นที่เสี่ยงเฝ้าระ วังน้ำหลาก ดินถล่ม ในช่วงวันที่ 23 - 25 พฤศจิกายน 2564 บริเวณจังหวัดประจวบคีรีขัน ธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ระนอง ตรัง และสตูล พร้อมกับเฝ้าระวังอ่างเก็บน ้ำขนาดกลางที่มีปริมาณน้ำมา กกว่าร้อยละ 80 และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เสี่ยงน้ำล้นกระทบพื้นที่บร ิเวณท้ายอ่างเก็บน้ำในภาคใต ้ บริเวณจังหวัดประจวบคีรีขัน ธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี กระบี่ ระนอง ภูเก็ต และตรัง
อธิบดีกรมชลประทาน กล่าวด้วยว่า เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อ มรับมือ ได้สั่งการให้ สำนักงานชลประทานที่ 14 - 17 คอยติดตามสภาพอากาศและสภาพน ้ำอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีฝนตกสะ สมมากกว่า 90 มิลลิเมตร ในช่วงเวลา 24 ชั่วโมง และพื้นที่จุดเสี่ยงที่เคยเ กิดน้ำท่วมอยู่เป็นประจำ ทั้งนี้ หากในพื้นที่เกิดสถานการณ์น ้ำหลาก ขอให้แจ้งข้อมูลกลับในกลุ่ม ไลน์เครือข่ายศูนย์บริหารจั ดการน้ำส่วนหน้าในพื้นที่ภา คใต้ เพื่อจะได้ดำเนินการเข้าไปใ ห้ความช่วยเหลือต่อไป และปรับแผนบริหารจัดการน้ำใ นแหล่งน้ำที่มีปริมาณน้ำมาก กว่าร้อยละ 80 หรือเกณฑ์ควบคุมสูงสุด (Upper Rule Curve) ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถ านการณ์น้ำ พร้อมพิจารณาบริหารจัดการเข ื่อนระบายน้ำและประตูระบายน ้ำ เพื่อพร่องน้ำและเร่งระบายน ้ำในลำน้ำ แม่น้ำ ให้สอดคล้องกับการขึ้น - ลงของระดับน้ำทะเล รวมทั้งใช้พื้นที่ลุ่มต่ำเป ็นแก้มลิงหน่วงน้ำและรองรับ น้ำหลาก
อย่างไรก็ตาม จากฝนที่ตกหนักต่อเนื่องทาง ภาคใต้ ส่งผลให้เกิดน้ำท่วมในหลายพ ื้นที่กรมชลประทานได้เตรียม แผนรับสถานการณ์น้ำหลาก อาทิ เตรียมความพร้อมบุคลากร เครื่องจักรเครื่องมือ รวมถึงความพร้อมของระบบสื่อ สารสำรอง เพื่อบูรณาการความพร้อมให้ค วามช่วยเหลือและบรรเทาผลกระ ทบต่อประชาชนได้ทันที โดยการขุดเปิดทางระบายน้ำให ้สามารถไหลได้ดีขึ้น รวมทั้งติดตั้งเครื่องจักร เครื่องมือต่างๆเพื่อช่วยเห ลือพื้นที่น้ำท่วม ปัจจุบันมีพื้นที่ประสบภัยใ นภาคใต้ 6 จังหวัด กรมชลประทานได้ดำเนินการติด ตั้งเครื่องสูบน้ำรวม 71 เครื่อง เครื่อง Hydroflow 8 เครื่อง เครื่องผลักดันน้ำ 52 เครื่อง พร้อมบูรณาการร่วมกับจังหวั ดในการประชาสัมพันธ์สถานการ ณ์น้ำ และแจ้งเตือนล่วงหน้า ให้ประชาชนที่คาดว่าจะได้รั บผลกระทบ เตรียมพร้อมในการอพยพได้ทัน ท่วงทีหากเกิดสถานการณ์ ตามประกาศของกองอำนวยการน้ำ แห่งชาติ (กอนช.)
นายประพิศ จันทร์มา อธิบดีกรมชลประทาน เปิดเผยว่า ศูนย์บริหารจัดการน้ำส่วนหน
อธิบดีกรมชลประทาน กล่าวด้วยว่า เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อ
อย่างไรก็ตาม จากฝนที่ตกหนักต่อเนื่องทาง